วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรมโครงการคัดเลือกค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
ณ ศูนย์กาแฟภูฟ้า บริเวณกาดแลง ริมแม่น้ำน่าน
วัน จันทร์ ที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2558
กศน.ตำบลเมืองจังมีนักศึกษาเข้าร่วมจำนวน 15 คน







วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรมการสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 
ระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
 ระหว่างวันที่ 7 - 8 มีนาคม 2558
ณ โรงเรียนน่านปัญญานุกูล อ.ภูเพียง จ.น่าน





 กิจกรรมสอนเสริมเติมเต็มความรู้วิชาคณิตศาสตร์ 
ติวเข้มก่อนสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
ร่วมกับคณะครู กศน.ตำบล ในเขตอำเภอภูเพียง
ณ กศน.ตำบลฝายแก้ว 
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558









วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

อบรมการทำเว็บ Blog รุ่นที่ 2 สำนักงาน กศน.จังหวัดน่าน

 

คณะผู้เข้าร่วมอบรมเว็บ Blog รุ่นที่ 2 สำนักงาน กศน.จังหวัดน่าน

ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 

มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา น่าน

 ระหว่างวันที่ 25 - 26 ก.พ. 2558

 

 

 

 

เพลงค่านิยม 12 ประการ ค่ายแกรมมี่


รับสมัครนักศึกษา กศน.ตำบลเมืองจัง เรียนฟรี!!!! ไม่มีค่าใช้จ่าย




เอกสารหลักฐานการสมัครเรียน กศน.ต.เมืองจัง
1. รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวกและแว่นตาดำ ขนาด 1 นิ้ว  จำนวน 2 ใบ

2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 1 ชุด

3. สำเนาทะเบียนบ้าน จำนวน  1 ชุด

4. สำเนาหลักฐานการจบ วุฒิเดิม จำนวน 2 ชุด

5. สำเนาทะเบียนสมรส(กรณีแต่งงานแล้ว) 1 ชุด

6. สำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-สกุล (ถ้ามี) 1 ชุด

ความเป็นมา กศน.ตำบลเมืองจัง





สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานตำบล
               ประวัติความเป็นมาของตำบล
              ตำบลเมืองจัง  จัดตั้งขึ้นเมื่อใดหลักฐานไม่ปรากฏชัดเจน จากการบอกเล่าสืบต่อกันมาว่า
เมืองจัง นั้นเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าขาก่าน เจ้าเมืองปัว ได้เดินทางโดยทางเรือล่องลงมาตามลำน้ำน่านเพื่อจะไปยังเมืองน่าน และได้มาหยุดพักแรมที่วัดครกขอน (บ้านเมืองจังใต้) และได้ตั้งชื่อว่า        บ้านเมืองจั้ง คำว่า จั้งหรือ ยั้ง หรือ หยุด และต่อมาคำว่า จั้ง ได้เรียกเพี้ยนไปเป็น เมืองจัง พอตั้งเป็นตำบลจึงได้ชื่อว่าตำบลเมืองจัง และได้เรียกชื่อนี้มาถึงปัจจุบัน
                      องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองจัง ตั้งอยู่เลขที่  239 บ้านราษฏร์สามัคคี  หมู่ที่  8  ตำบลเมืองจัง  อำเภอภูเพียง  จังหวัดน่าน  ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอภูเพียง  จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากอำเภอภูเพียงประมาณ  15  กิโลเมตร และอยู่ห่างจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดน่านประมาณ  16  กิโลเมตร
1.1 จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร แยกชาย/หญิง รายหมู่บ้าน
ประชากรรวมทั้งสิ้นจำนวน 5,955 คน แยกเป็นชาย 3,006 คน  หญิง  2,949  คน ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ 84 คน/ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 2,038 ครัวเรือน
หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
จำนวนประชากร
จำนวนครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
1
หาดเค็ด
340
330
670
206
2
เมืองจังใต้
268
281
549
223
3
หาดผาขน
258
273
531
169
4
เมืองหลวง
287
290
577
189
5
เมืองจังเหนือ
254
263
517
176
6
จัดสรร
140
149
289
94
7
สบยาว
217
199
416
123
8
ราษฏร์สามัคคี
417
389
806
266
9
บ้านใหม่สามัคคี
358
332
690
222
10
บ้านเมืองจังใหม่พัฒนา
351
322
673
254
11
บ้านมงคลเจริญสุข
116
121
237
116
รวม
3,006
2,949
5,955
2,038
ที่มา :   อบต.เมืองจัง  อำเภอภูเพียง  จังหวัดน่าน
         
1.2  สภาพทางภูมิศาสตร์
          อาณาเขตการปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลเมืองจัง มีเนื้อที่ ประมาณ  58,236  ตารางกิโลเมตร
อาณาเขตติดต่อ
          ทิศเหนือ                 ติดต่อกับ                   ตำบลดู่พงษ์  อำเภอสันติสุข
          ทิศใต้                     ติดต่อกับ                   ตำบลฝายแก้ว  อำเภอภูเพียง
          ทิศตะวันออก            ติดต่อกับ                   ตำบลฝายแก้ว และอำเภอสันติสุข
          ทิศตะวันตก              ติดต่อกับ                   ตำบลผาสิงห์ และตำบลบ่ออำเภอเมืองน่าน
ลักษณะภูมิประเทศ
          ลักษณะโดยทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลเมืองจัง เป็นที่ราบสูง ตั้งอยู่ฝั่งซ้ายและขวาของแม่น้ำน่าน เป็นระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร และแม่น้ำยาว(สาขาแม่น้ำน่าน) เป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร จึงทำให้มีน้ำอุดมสมบูรณ์ สภภาพของดินฟ้าอากาศโดยทั่วไปอยู่ในเกณฑ์ปกติ สภาพพื้นที่มีทั้งเป็นพื้นที่ราบ  ที่ลาดเชิงเขา และภูเขา แบ่งได้ดังนี้
-                   พื้นที่ราบ                30 %
-                   ที่ดอน                             10 %
-                   ที่ลาดเชิงภูเขา           60 %
ลักษณะภูมิอากาศ
                   สภาพภูมอากาศ อุณหภูมิสูงสุดในเดือนมีนาคม 40.5 องศาเซลเซียส , อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคม 10.5 องศาเซลเซียส , อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยในเดือนพฤษภาคม 29.35 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคม 21.74 องศาเซลเซียส
                   ส่วนความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดในเดือนมกราคม และธันวาคม 99 , ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดในเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม 18 , ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุดในเดือนสิงหาคม 85.55 , ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่ำสุดในเดือนมีนาคม 61.87
          ปริมาณน้ำฝน
                   ปริมาณน้ำฝนสูงสุดในเดือนกันยายน  398.3 มิลลิเมตร  และต่ำสุดในเดือนมกราคม  1.5  มิลลิเมตร  มีจำนวนวันฝนตกเฉลี่ย  123 วัน / ปี  ช่วงที่ฝนตกหนักที่สุดในเดือน กรกฎาคม – กันยายน


 
1.3  สภาพการปกครอง
-                   ลักษณะการแบ่งเขตการปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น ๑๑  หมู่บ้าน
-                   รายชื่อกำนันผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
ผู้นำชุมชน
ตำแหน่ง
1
หาดเค็ด
นายอิ่นคำ        แสนซ้าย
ผู้ใหญ่บ้าน
2
เมืองจังใต้
นายทวี            สงคราม
ผู้ใหญ่บ้าน
3
หาดผาขน
นายเกษม         รุณใจ
ผู้ใหญ่บ้าน
4
เมืองหลวง
นายประกิต       วงค์พุทธคำ           
ผู้ใหญ่บ้าน
5
เมืองจังเหนือ
นายสมควร       เงินสายตา         
ผู้ใหญ่บ้าน
6
จัดสรร
นายดิเหรก        ใจจันทร์     
ผู้ใหญ่บ้าน
7
สบยาว
นายไพโรจน์       กันฟัน
ผู้ใหญ่บ้าน
8
ราษฎร์สามัคคี
นายเสาร์          คำมูลอินทร์
ผู้ใหญ่บ้าน
9
บ้านใหม่สามัคคี
นายวุฒิ            บัวผัน
ผู้ใหญ่บ้าน
10
บ้านเมืองจังใหม่พัฒนา
นายมิตร           สงคราม
กำนัน
11
บ้านมงคลเจริญสุข
นายเพชร          พรมไชย
ผู้ใหญ่บ้าน

1.4  สภาพทางเศรษฐกิจ
-                   การประกอบอาชีพ
           การเกษตรกรรม
           อาชีพราษฎรส่วนใหญ่มีอาชีพทางด้านการเกษตร เช่น การทำไร่ ทำสวน พืชส่วนใหญ่ได้แก่ มะม่วง  มะขามหวาน  สิ้นจี่ และส้มเขียวหวาน ส่วนพืชไร่ ได้แก่ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว  ข้าวโพด  โดยเกษตรกรส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นผลิตเพื่อจำหน่ายผลผลิตโดยตรง ไม่มุ่งเน้นในด้านการแปรรูป หรือแบบครบวงจร เกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้แรงงานจากสัตว์น้อยลง โดยหันมาใช้เครื่อง จักรมากขึ้น เช่น รถไถเดินตาม , รถไถขนาดใหญ่ , เครื่องพ่นยาแบบแรงอัดแรงสูง , เครื่องสีผลผลิต ฯลฯ  ส่วนเครื่องปลูกเก็บเกี่ยว , เครื่องเก็บเกี่ยวยังไม่มีการนำเข้าใช้  เนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่ใช้พื้นที่ราบ จึงต้องอาศัยแรงงานคน


           การเลี้ยงสัตว์
           สภาพการเลี้ยงสัตว์ทั่วไปมีทั้งแบบปล่อยและขังคอก  ซึ่งจะเลี้ยงไว้เพื่อบริโภค และจำหน่ายเป็นรายได้ หรือเลี้ยงไว้ใช้งาน ปัจจุบันมีน้อยมากสัตว์ที่เลี้ยง เช่น โค กระบือ ไก่ เป็ด แพะ สุกร เป็นต้น
           พันธุ์สัตว์ที่เลี้ยงส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์พื้นเมือง เช่น ไก่พื้นเมือง  โค  กระบือ  สัตว์เลี้ยงบางชนิด  เป็นพันธุ์ผสม เช่น  สุกร  โค แต่มีจำนวนน้อยมาก ซึ่งมีปัญหาในด้านการขากพ่อ แม่พันธุ์ที่ดี
-                   ผลผลิต/รายได้ประชากร
          รายได้ของประชากรส่วนใหญ่มาจากการทำการเกษตร และนอกจากภาคการเกษตร โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว  44,457 บาท / ปี
-                   การรวมกลุ่มอาชีพ
           ปัจจุบันได้เกิดกลุ่มธรรมชาติขึ้นในชุมชน ซึ่งเป็นกลุ่มเกษตรกรรมการเกษตรที่เกิดจากชุมชน โดยมีการบริหารจัดการภายในกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการดำเนินกิจกรรมการเกษตรในด้านการผลิต การจำหน่าย โดยอาศัยกลไกของรัฐเป็นผู้ควบคุมดูแล ในตำบลเมืองจังมีกลุ่มดังนี้
1.       กลุ่มแม่บ้านเกษตร                     จำนวน      11    กลุ่ม
2.       กลุ่มผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม             จำนวน       1    กลุ่ม
3.       กลุ่มเกษตรยั่งยืน                        จำนวน       1    กลุ่ม
4.       กลุ่มผู้ปลูกลิ้นจี่                          จำนวน       1    กลุ่ม
5.       กลุ่มผู้เลี้ยงสุกร                           จำนวน      1    กลุ่ม
6.       กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลือง                     จำนวน      1    กลุ่ม
7.       กลุ่มเกษตรผสมผสาน                   จำนวน      2    กลุ่ม
8.       กลุ่มออมทรัพย์                          จำนวน       6    กลุ่ม
9.       กลุ่มยุวเกษตรกร                        จำนวน       1    กลุ่ม
10.    กลุ่มเลี้ยงปลา                           จำนวน       1    กลุ่ม
11.   กลุ่มแปรรูปจากก้านมะพร้าว          จำนวน       1    กลุ่ม
12.   กลุ่มสุราพื้นบ้าน                         จำนวน       1    กลุ่ม
13.   กลุ่มแกะสลัก                             จำนวน       1    กลุ่ม
14.   กลุ่มทำแหนม                             จำนวน       1    กลุ่ม
15.   กลุ่มประดิษฐ์(จักสาน)                   จำนวน       1    กลุ่ม
16.   กลุ่มยางพารา                             จำนวน       1    กลุ่ม
17.   กลุ่มเลี้ยงโคเนื้อ                           จำนวน       1    กลุ่ม
18.   กลุ่มหน่อไม้ปิ๊บ                            จำนวน       1    กลุ่ม
-                   กลุ่มหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจในชุมชน
     1.  กองทุนเงินล้าน
                   2.  กองทุน กข.คจ.
3.  กองทุนกลุ่มออมทรัพย์
4.  กองทุนยา
5.  กองทุนชิป เมนู 5
6.  กองทุนเมล็ดพันธุ์พืช
1.5 สภาพทางสังคม
-                   ศาสนา/ประเพณี/วัฒนธรรม
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประกอบด้วย
1.       วัด                   5              แห่ง
2.       พระภิกษุ           10            รูป
3.       สามเณร            18            รูป
4.       สำนักสงฆ์           1             แห่ง
5.       สำนักวิปัสสนา      1            แห่ง
6.       สถานธรรม          1            แห่ง
-                   กลุ่มผู้สูงอายุ/กลุ่มเยาวชน/คนพิการ/กลุ่มแม่บ้าน
กองทุนทางสังคม
1.       กลุ่มผู้สูงอายุ
2.       กลุ่ม อสม.
3.       กลุ่มเยาวชน
4.       กลุ่มดนตรีไทยพื้นบ้าน
5.       กลุ่ม อปพร.
6.       กลุ่มผู้ติดเชื้อ
7.       กลุ่มคนพิการ
-                   ผู้นำชุมชน/องค์กรชุมชน เช่น อาสาสมัครกศน./อสม./อาสาพัฒนาชุมชนฯลฯ

 
1.6 สภาพทางการศึกษา
                  -    จำนวนผู้จบการศึกษาในระดับต่างๆ/จำนวนผู้ไม่รู้หนังสือ
     รายชื่อผู้ไม่รู้หนังสือ
ลำดับ
ชื่อ - สกุล
วัน เดือน ปีเกิด
ที่อยู่
เลขบัตรประชาชน
หมายเหตุ
1
นายผจญ      มีบุญ
2500
92     หมู่ที่ 1
3550100394418

2
นายชวน      ใจเดช
2502
161   หมู่ที่ 1
3550100393706

3
นางป้อม      คำจันทร์
2500
162   หมู่ที่ 1
3550100403387

4
นายเมฒ      สงคราม
2502
165   หมู่ที่ 2
3550100414974
ไม่สมประกอบ
5
นายจัย        มัยราช
2500
92     หมู่ที่ 2
3550100411185

6
นางซ้อน      อภัยรุณ
2493
59     หมู่ที่ 5
3550100554024

7
นางกุล        มัยราช
2499
100   หมู่ที่ 5
3550100555284

8
นายเสาร์      กุมาระ
2506
99    หมู่ที่ 5
3550100555250

9
นางใย         สัตยวงค์
2499
75    หมู่ที่ 5
3550100553737

10
นายเปล่ง     วิชัยยา
2498
142  หมู่ที่ 5
3550100552226

11
นางสุภา      วิชัยยา
2499
142  หมู่ที่ 5
3550100552765

12
นางแฝง      วิชัยยา
2504
141  หมู่ที่ 5
3550100554211

13
นางยวน      วิชัยยา
2502
125  หมู่ที่ 5
3550100551254

14
นางไฮ        นาคฮ้าย
2499
16    หมู่ที่ 6
3550100556574

15
นางแสงจันทร์ จันต๊ะมา
2501
21    หมู่ที่ 6
3550100556779

16
นายวัฒน์     ดีวงศ์
2506
34    หมู่ที่ 6
3550100557511

17
นายแทน     ทองข่ม
2500
36    หมู่ที่ 6
3550100667662

18
นางปราณี    กุลจันทร์
2499
39    หมู่ที่ 6
3550100558755

19
นายณรงค์    ธะนะคำ
2504
55    หมู่ที่ 6
3550100558577

20
นายคาด      อภัยรุณ
2506
96    หมู่ที่ 6
3550100565344

21
นายสวน      พังยะ
2507
117  หมู่ที่ 6
3550100556108

22
นายชวน      จันต๊ะมา
2499
123  หมู่ที่ 6
3550100558024

23
นางพลอย    จันต๊ะมา
2509
123  หมู่ที่ 6
3550900149761

24
นางไหล่       ทองข่ม
2503
144  หมู่ที่ 6
3551100083316

25
นางคำ        เพชรดิน
2508
18    หมู่ที่ 7
5540690000959

26
นางดา        ใจมงคล
2500
37    หมู่ที่ 7
3550100561691

27
นางติ๊บ       ใจมงคล
2500
40    หมู่ที่ 7
3550100561896

28
นายแคม     ใจมงคล
2504
43    หมู่ที่ 7
3550100562078

29
นางคำ        ชัยมงคล
2505
46    หมู่ที่ 7
3550100562175

30
นางบัวจันทร์ เชื้อสูงเนิน
2499
48    หมู่ที่ 7
3550100562329

31
นางซิว       ใจมงคล
2507
69    หมู่ที่ 7
5550100027802

32
นายแหลมทอง  สอดสี
2502
13    หมู่ที่ 8
3550100556582

33
นางเฉลียง    สอดสี
2502
13    หมู่ที่ 8
3550100563759

34
นางบัวผัน    วิไชยยา
2509
24    หมู่ที่ 8
3550100564615

35
นายเนาว์     วิไชยยา
2509
28    หมู่ที่ 8
3550100564615

36
นางพร     ธันวานนท์
2499
28    หมู่ที่ 8
3550100564525

37
นายแค้น   เขียวฉลาด
2498
34    หมู่ที่ 8
3550100027101

38
นายเต็ง    บุญเรือง
2501
36    หมู่ที่ 8
3550100565034

39
นายดุจ     เวชสุวรรณ
2506
42    หมู่ที่ 8
3550100565301

40
นางตุ๊ด     อภัยรุณ
2500
59    หมู่ที่ 8
3550100566120

41
นางปัง     นากสุกข์
2502
69    หมู่ที่ 8
3550100566518

42
นายสมบูรณ์  วิชัยยา
2509
102  หมู่ที่ 8
3550100568432

43
นางไฮ        วิชัยยา
2510
102  หมู่ที่ 8
3550100554075

44
นางสุพรรณ  อินต๊ะนาม
2510
103  หมู่ที่ 8
3550100568667

45
นางบัวจีน    ธรรมดุล
2502
104   หมู่ที่ 8
3550100568505

46
นายดำรง     ลือเรือง
2505
106   หมู่ที่ 8
3550100568602

47
นางบัวแก้ว   มงคล
2503
119   หมู่ที่ 8
3550100568307

48
นางเขียว     วรผล
2502
123   หมู่ที่ 8
3550100569404

49
นางจันทร์    ดวงพิสุข
2506
129   หมู่ที่ 8
3550100569609

50
นายพุฒ      บุญเรือง
2503
144   หมู่ที่ 8
3550100570151

51
นางฉลวย    วิชัยยา
2503
151   หมู่ที่ 8
3550100570593

52
นายศุกร์      ยะหลวง
2506
157   หมู่ที่ 8
3550100570747

53
นายดวง      บุญเป็ง
2511
165   หมู่ที่ 8
3550100564984

54
นายคิด       สัตยวงค์
2508
167   หมู่ที่ 8
3550100566316

55
นายเสาร์     กุลจันทร์
2514
172   หมู่ที่ 8
3550100559026

56
นางไหม      สัตยวงค์
2509
167   หมู่ที่ 8
3550100567037

57
นายวิทย์     อภัยรุณ
2503
172   หมู่ที่ 8
3550100569242

58
นายเกียรติ   อภัยรุณ
2506
171   หมู่ที่ 8
3550100565760

59
นายทน       มัยราช
2508
174   หมู่ที่ 8
3550100567908

60
นายเอ้       เขียวฉลาด
2500
167   หมู่ที่ 8
3550100565824

61
นางนอม    เขียวฉลาด
2507
172   หมู่ที่ 8
3550100569803

62
นางละมัย   ใจจันทร์
2503
171   หมู่ที่ 8
3550100567002

63
นายเบิ้ม     นันต๊ะ
2501
174   หมู่ที่ 8
3550100644872

64
นางเลียบ    นันต๊ะ
2507
167   หมู่ที่ 8
3550100570488

65
นายสงวน   อภัยรุณ
2506
172   หมู่ที่ 8
3550100566782

66
นายตุ่ย      อภัยรุณ
2506
171   หมู่ที่ 8
3550100566812

67
นางลา       ดีพิจาร์ณ
2499
174   หมู่ที่ 8
3550100563376

68
นายเสมือน  อินภูธร
2502
167   หมู่ที่ 8
3559100553711

69
นางกาญจนา แก้วกันทะ
2504
172   หมู่ที่ 8
3559100568769

70
นางจวง     กองแก้ว
2511
236   หมู่ที่ 8
3550100568211

71
นายประดิษฐ์ บุญเป็ง
2506
252   หมู่ที่ 8
3550100564950

72
นายเดช      บุญเป็ง
2507
251   หมู่ที่ 8
3550100564968

73
นางอุดม     ธนะวงค์
2506
99   หมู่ที่ 10
3550100407269

74
นายหวน     กุกไชย
2506
184 หมู่ที่ 10
3550100400906

75
นายแก้ว      นุจร
2503
226 หมู่ที่ 10
3550100411193

76
นางทอง      นุจร
2505
226 หมู่ที่ 10
3550100411452

77
นายยืน       กุกไชย
2502
303 หมู่ที่ 10
3550100415962

78
นางปา        กุกไชย
2511
303 หมู่ที่ 10
3550100417566

79
นายประหยัด เมธา
2502
308 หมู่ที่ 10
3550100417574

80
นางหลาน     เมธา
2502
308 หมู่ที่ 10
3550100412629

81
นายสมศักดิ์   อุทธา
2503
390 หมู่ที่ 10
3550100412629


 
                  -    จำนวนสถาบันการศึกษา/แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาในชุมชน 
  สถาบันการศึกษา
     1.  โรงเรียนมัธยมศึกษา                          1          แห่ง
     2.  โรงเรียนประถมศึกษา                        2          แห่ง
     3.  โรงเรียนขยายโอกาส                         1          แห่ง
     4.  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน                11         แห่ง 
     5.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                             5         แห่ง
     6.  ศูนย์การเรียนชุมชน(กศน.ตำบล)            1          แห่ง
  แหล่งเรียนรู้   
ชื่อแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ
องค์ความรู้
1.ศูนย์เรียนรู้แสงเทียน
-บ้านเมืองจังใหม่สามัคคี หมู่ที่ 9  ต.เมืองจัง
ศูนย์เรียนรู้การฝึกอาชีพ
2.ศูนย์เรียนรู้โจ้โก้
-บ้านราษฎร์สามัคคี หมู่ที่ 8         ต.เมืองจัง
เกษตรทฤษฎีใหม่
3.ชุมชนบ้านหาดผาขน
(ป่าชุมชนและการอนุรักษ์น้ำ)
-บ้านหาดผาขน หมู่ที่ 3                ต.เมืองจัง
ป่าชุมชนและอนุรักษ์น้ำ
4.วังกาบรางธรรมสถาน
-บ้านราษฎร์สามัคคี หมู่ที่ 8         ต.เมืองจัง
สถานปฏิบัติธรรม ,เจริญสติ
5. แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านสบยาว
- บ้านสบยาว หมู่ที่ 7 ต.เมืองจัง
- โครงการปิดทองหลังพระ
- ฝายกั้นน้ำ

  ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชื่อ – สกุลภูมิปัญญา
ที่อยู่ / สถานที่ติดต่อ
หลักสูตร /องค์ความรู้/
ความชำนาญ/ประสบการณ์
1. นายจ๋อย         อภัย
หมู่ที่  1  บ้านหาดเค็ด
ดนตรีไทย
2. นายชูศักดิ์       หาดพรม
หมู่ที่  1  บ้านหาดเค็ด
เกษตรทฤษฏีใหม่
3. นายเสวียน       สองสีขวา
หมู่ที่  3  บ้านหาดผาขน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4. นางระยอง       นาทอน
หมู่ที่  5  บ้านเมืองจังเหนือ
อาหาร ขนม
5. นายสำรวย       ผัดผล
หมู่ที่  8  บ้านราษฏร์สามัคคี
เกษตรผสมผสาน
6. นางม๊อก          คำมูลอินทร์
หมู่ที่  8  บ้านราษฏร์สามัคคี
ทำไม้กวาด
7. นายมานพ        ลำเลา
หมู่ที่  10 บ้านเมืองจังใหม่พัฒนา
หมอสู่ขวัญ
8. นายสมาน        จุมปา
หมู่ที่  11 บ้านมงคลเจริญสุข
แพทย์ประจำตำบล

-                   คณะกรรมการ กศน.ตำบล
ชื่อ - สกุล
ตำแหน่ง
นายสำรวย                ผัดผล    
             ประธานกรรมการ
นายบุญนะ                ตามล
                   กรรมการ
นายอิ่นคำ                 แสนซ้าย
กรรมการ
นายทวี                    สงคราม
กรรมการ
นายเกษม                 รุณใจ
กรรมการ
           นายประกิต               วงค์พุทธคำ
กรรมการ
นายสมควร               เงินสายตา
                     กรรมการ
นายดิเหรก               ใจจันทร์                 
 กรรมการ
นายไพโรจน์             กันฟัน
 กรรมการ
นายเสาร์                 คำมูลอินทร์
 กรรมการ
นายวุฒิ                   บัวผัน
 กรรมการ
นายมิตร                  สงคราม
 กรรมการ
นายเพชร                พรมไชย
 กรรมการ
  นางนิตย์               สงคราม
                   กรรมการ
           นางประกอบ           ไชยชนะ
                   กรรมการ
           นายส่น                   พันธะวงค์
                   กรรมการ
        นายพัฒนา              สิงห์สถิต
 กรรมการ
          น.ส.ตาลทิพย์          มัยราช
 กรรมการ
           นายบุญยเทพ           อามาตย์
กรรมการและเลขานุการ

 บทบาทหน้าที่คณะกรรมการ กศน.ตำบล
          1) ประสานงานและเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กับศูนย์การเรียนชุมชนต่างๆ ในตำบล
          2) ประสานกับส่วนราชการในตำบล และเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน
          3) ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่เพื่อนำแผนชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาปฏิบัติ
          4) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามที่กฎหมาย  ระเบียบ  ประกาศ ฯลฯ กำหนดให้เป็นบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ กศน.ตำบล
1.7  ทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อมของชุมชน
-                   แหล่งน้ำ

หมู่


ชื่อบ้าน
แหล่งน้ำ
บ่อน้ำตื้น
บ่อน้ำบาดาล
ประ
ปา
อ่างเก็บน้ำ
ฝาย
คลองชลประทาน
คลองส่งน้ำ
เหมือง
สระน้ำ
ลำห้วย
แม่น้ำ
หมายเหตุ
1
หาดเค็ด
53
4







1
1
1
-
-
1
2
2
3



แม่น้ำน่านไหลผ่านทุกหมู่บ้าน
2
เมืองจังใต้
-
1
1
-
-
1
-
-
1
-
3
หาดผาขน
22
1
-
-
-
-
-
-
6
1
4
เมืองหลวง
20
3
1
-
-
-
-
-
1
1
5
เมืองจังเหนือ
49
3
2
1
1
1
5
-
2
1
6
จัดสรร
27
14
1
1
-
1
2
42
2
1
7
สบยาว
-
2
-
-
-
-
-
1
-
2
8
ราษฎร์สามัคคี
10
2
-
-
-
-
-
-
-
-
9
ใหม่สามัคคี
48
22
2
-
-
1
1
13
8
1
10
เมืองจังใหม่พัฒนา
15
20
-
1
-
1
1
5
1
1


244
72
1
8
4
1
5
10
63
23
11

-                   ป่าไม้
มีพื้นที่ทั้งหมด                                 23,495  ไร่
แบ่งเป็นพื้นที่การเกษตร                      18,629  ไร่
1.       พื้นที่นา                                        1,480  ไร่
2.       พื้นที่ไร่                                      14,300  ไร่
3.       พื้นที่ไร่ผล                           2,835  ไร่
4.       อื่นๆ (สาธารณะ พื้นที่ป่า)                    4,800  ไร่

-                   ที่ดิน
ขนาดของการถือครองที่ดินและสิทธิในที่ดินทำกิน เกษตรกรมีที่ดินทำกินเฉลี่ย 5-7
ไร่/ครอบครัว โดยมีที่ดินเป็นของตนเองในรูปของ โฉนด , น.ส.3 , สปก.และใบจับจอง เกษตรกรบางส่วนยังไม่มีเอกสารสิทธิ์